วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

สรุปนวัตกรรมด้านบริหารการศึกษา (E - Office สำนักงานอิเล็กทรอนิกส์)

 E - Office สำนักงานอิเล็กทรอนิกส์

       E-Office หรือสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ ในบางครั้งก็ใช้คำว่า Office Automation หรือสำนักงานอัตโนมัติ คือ การนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ร่วมกับระบบเครือข่ายเทคนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการในสำนักงานหรือองค์กร โดยมุ่งเน้นการบริหารจัดการเอกสารเข้า-ออก จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การจัดเก็บเอกสาร แก้ไขเอกสาร และการใช้ประโยชน์อื่น ๆ อีกมากมาย โดยอำนวยความสะดวกในเรื่องการลดขั้นตอน ลดระยะเวลา ลดการใช้ทรัพยากรกระดาษ และอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการ การรับ-ส่งข้อมูลข่าวสาร มีการจัดเก็บเอกสารในลักษณะไฟล์ดีจิทัลอย่างเป็นระบบ มีความสะดวกรวดเร็ว และสามารถข้าถึงและค้นหาข้อมูลได้ง่าย แม้ว่าผู้ปฏิบัติงานจะไม่อยู่ในสำนักงานก็สามารถเข้าถึงข้อมูลได้


       หลักการทำงานของ E-Office คือ การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์แทนการใช้กระดาษ โดยสร้าง >> ส่ง >> และลงนามแบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ไม่ต้องพิมพ์กระดาษออกมาแล้วเสนอลงนาม ตามวิธีการทำงานแบบเดิมซึ่งเป็นปัญหาาอุปสรรคอย่างมาก ที่สำคัญเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณและทรัพยากรมากมาย เนื่องจากการพิมพ์เอกสารออกมาเป็นกระดาษ 1 แผ่น มีค่าใช้จ่ายหลายอย่างเช่น หมึก เครื่องพิมพ์ พื้นที่จัดเก็บ ในความทันสมัยและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว






 แนวทางปฏิบัติที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรหรือหน่วยงานได้ทันที

  • การบริหารจัดการรูปแบบการรับ-ส่งเอกสาร แจ้งเวียนเอกสารทาง e-mail แทนการใช้กระดาษ
  • การจัดเก็บข้อมูลนระบบคอมพิวเตอร์เป็นรูปแบบไฟล์ดิจิทัลแทนการจัดเก็บแฟ้มเอกสาร
  • การติดต่อสื่อสารผ่านช่องทาง LINE หรือ เพจ Facebook เป็นตัน
  • การเลือกใช้ VDO Conference ประชุมทางไกลแทนการเชิญมาประชุม

ข้อดี

  • ลดเวลาในการติดต่อสื่อสาร ทำให้การส่งต่อข้อมูลข่าวสารเป็นไปด้วยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพสามารถกระจายข้อมูลไปถึงกลุ่มเป้าหมายโดยการส่งข้อมูลครั้งเดียว
  • เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ประมวลผลได้ทันที สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ลดค่าใช้จ่ายการดำเนินงานภายในสำนักงาน ใช้หลักการสำนักงานปราศจากเอกสาร (Paperless Office)
  • ลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสาร จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบไฟล์ดิจิทัลได้จำนวนมาก ทั้งในรูปแบบไฟล์ภาพ เสียง หรือข้อความ เป็นต้น
  • สามารถทำงานหรือจัดการประชุมทางไกล โดยใช้โทรศัพท์ โทรทัศน์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ สื่อสารโทรคมนาคมได้โดยไม่จำกัดสถานที่และเวลา ทำให้ประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
  • เป็นการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้ปรับตัวและเรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
  • ส่งเสริมให้องค์กรหรือหน่วยงานมีภาพลักษณ์ที่ดีเป็น Smart Office

The Budget Planning Determinant Factors at State Primary Schools in Yogyakarta Province

Maisaroh, Siti; PH, Slamet; Hadi, Samsul
International Journal of Instruction, v12 n2 p353-368 Apr 2019

The purpose of this study is to describe the factors that influence budget planning at the State Primary School. This study uses quantitative research methods. The population in this study was the State Primary School in Yogyakarta Province in the amount of 1478 schools, with a sample of 284 schools. The sampling technique used is cluster random sampling. The collection technique uses a questionnaire. Data analysis technique uses Structural Equation Model (SEM) analysis with the help of Lisrel 8.80 Software. The results showed that; (1) there is a significant effect on the variable of school objective, school management, School Work Planning (SWP) and Operational Work Planning (OWP) on budget planning variable, with respectively 0.24, 0.16, 0.18 and 0.37: (2) There is no influence of work involvement variable on budget planning variable; (3) there is a significant effect of school objective variable, school management, and work involvement on OWP, respectively 0.28, 0.32 and 0.22; (4) there is a significant effect of school objective variable, school management, and work involvement on OWP of 0.29, 0.24 and 0.24. The measurement model developed through eleven hypotheses is fit with the data obtained in the field, because it meets the criteria of Goodness of Fit.


ปัจจัยกำหนดการวางแผนงบประมาณที่โรงเรียนประถมศึกษาของรัฐในจังหวัดยอกยาการ์ตา

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนงบประมาณที่โรงเรียนประถมศึกษาของรัฐ การศึกษานี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษานี้คือโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐในจังหวัดยอกยาการ์ตา จำนวน 1,478 โรงเรียน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 284 โรงเรียน เทคนิคการสุ่มตัวอย่างที่ใช้คือการสุ่มแบบกลุ่ม เทคนิคการเก็บรวบรวมใช้แบบสอบถาม เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ Structural Equation Model (SEM) ด้วยความช่วยเหลือของซอฟต์แวร์ Lisrel 8.80 ผลการวิจัยพบว่า (1) มีนัยสำคัญต่อตัวแปรวัตถุประสงค์ของโรงเรียน การบริหารจัดการโรงเรียน School Work Planning (SWP) และ Operational Work Planning (OWP) ต่อตัวแปรการวางแผนงบประมาณ 0.24 0.16 0.18 และ 0.37 ตามลำดับ: (2) มี คือไม่มีอิทธิพลของตัวแปรการมีส่วนร่วมในการทำงานต่อตัวแปรการวางแผนงบประมาณ (3) ตัวแปรวัตถุประสงค์ของโรงเรียน การบริหารจัดการโรงเรียน และการมีส่วนร่วมในการทำงานของ OWP มีนัยสำคัญตามลำดับ 0.28, 0.32 และ 0.22; (4) มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญของตัวแปรวัตถุประสงค์ของโรงเรียน การจัดการโรงเรียน และการมีส่วนร่วมในการทำงานต่อ OWP เท่ากับ 0.29, 0.24 และ 0.24 แบบจำลองการวัดที่พัฒนาขึ้นจากสมมติฐานสิบเอ็ดข้อนั้นเหมาะสมกับข้อมูลที่ได้รับในภาคสนาม เนื่องจากเป็นไปตามเกณฑ์ของ Goodness of Fit

Reference :
Maisaroh, Siti; PH, Slamet; Hadi and Samsul (2019) The Budget Planning Determinant Factors at State Primary Schools in Yogyakarta Province. International Journal of Instruction, v12 n2 (2019); p353-368.

Changes in School Curriculum Administration in China

Cui, Yunhuo; Lei, Hao; Zhou, Wenye
ECNU Review of Education, v1 n1 p34-57 2018

   Purpose: This study focuses on the establishment and evolution of the school curriculum administrative system in China. Design/Approach/Methods: Based on policy papers and documents, this paper explores changes of the concept, tradition and practices of curriculum administration in China. Findings: The curriculum administration since 1949 has developed from an "excessively centralized curriculum administration" model to a "sharing-based curriculum administration". China's three-level curriculum administrative system, comprising a national-, local-, and school-level curriculum administration framework, is explained and analyzed. Originality/Value: This is a comprehensive scholarly review of historical changes in school curriculum administration in China. This paper also provides provocative suggestions for future development of school curriculum administration in the Chinese context.

การเปลี่ยนแปลงการบริหารหลักสูตรของโรงเรียนในประเทศจีน
   
วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มุ่งเน้นไปที่การจัดตั้งและวิวัฒนาการของระบบการบริหารหลักสูตรของโรงเรียนในประเทศจีน การออกแบบ/แนวทาง/วิธีการ: จากนโยบายและเอกสารต่างๆ บทความนี้สำรวจการเปลี่ยนแปลงของแนวคิด ประเพณี และแนวปฏิบัติของการบริหารหลักสูตรในประเทศจีน สิ่งที่ค้นพบ: การบริหารหลักสูตรตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 ได้พัฒนาจากรูปแบบ "การบริหารหลักสูตรแบบรวมศูนย์มากเกินไป" มาเป็น "การบริหารหลักสูตรแบบแบ่งปัน" มีการอธิบายและวิเคราะห์ระบบการบริหารหลักสูตรสามระดับของจีนซึ่งประกอบด้วยกรอบการบริหารหลักสูตรระดับชาติ ระดับท้องถิ่น และระดับโรงเรียน ความคิดริเริ่ม/คุณค่า: นี่คือการทบทวนเชิงวิชาการที่ครอบคลุมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ในการบริหารหลักสูตรของโรงเรียนในประเทศจีน บทความนี้ยังให้ข้อเสนอแนะที่เร้าใจสำหรับการพัฒนาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาในอนาคตในบริบทของจีนอีกด้วย

Reference :
Cui, Yunhuo; Lei, Hao; Zhou and Wenye (2018) Changes in School Curriculum Administration in China. ECNU Review of Education, v1 n1 (2018); p34-57.

Regional Educational Reform in Thailand: Needs Assessment and Personnel Management 4.0 for the 21st Century

 Moonsarn, Boonchuay; Phoncharoen, Chotniphitphon; Jedaman, Pornchai; Kenaphoom, Sanya Online Submission, International Journal of Sociologies and Anthropologies Science Reviews (IJSASR) v2 n1 p31-42 Jan-Feb 2022


    Personnel management 4.0 was employed as the framework for exploring the educational personnel's perspectives on the regional educational reform in Thailand. This study aims to use the needs assessment and personnel management 4.0 for the 21st-century framework to understand the regional educational reform in Thailand. The mixed-method research methodology was employed in this study. Quantitative was collected by needs assessment through a questionnaire survey with the educational personnel from four regions in Thailand. Qualitative was collected by participatory action learning through brainstorming to the data. Needs assessment showed that the internal and external environment was at a high level and the desired condition was at a very high level. High needs regarding organizational plan leadership and strategic planning, measurement and knowledge management and focusing on organization, respective. Also, the relationship among educational administrators' perspectives on regional educational reform under the personnel management 4.0 framework was statistical significance. Key findings are discussed and their implications are also presented.


การปฏิรูปการศึกษาระดับภูมิภาคในประเทศไทย: การประเมินความต้องการและการบริหารงานบุคคล 4.0 สำหรับศตวรรษที่ 21

  การบริหารงานบุคคล 4.0 ถูกนำมาใช้เป็นกรอบในการสำรวจมุมมองของบุคลากรทางการศึกษาต่อการปฏิรูปการศึกษาในระดับภูมิภาคของประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้การประเมินความต้องการจำเป็นและการบริหารบุคลากร 4.0 สำหรับกรอบศตวรรษที่ 21 เพื่อทำความเข้าใจการปฏิรูปการศึกษาระดับภูมิภาคในประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยการประเมินความต้องการจำเป็นผ่านแบบสอบถามกับบุคลากรทางการศึกษาจาก 4 ภูมิภาคในประเทศไทย เชิงคุณภาพรวบรวมโดยการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมผ่านการระดมความคิดสู่ข้อมูล การประเมินความต้องการ พบว่า สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกอยู่ในระดับมาก และ สภาวะที่ต้องการอยู่ในระดับมาก ความต้องการสูงเกี่ยวกับความเป็นผู้นำในแผนองค์กรและการวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวัดผลและการจัดการความรู้ และการมุ่งเน้นไปที่องค์กรตามลำดับ นอกจากนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างมุมมองของผู้บริหารการศึกษาต่อการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคภายใต้กรอบการบริหารงานบุคคล 4.0 มีนัยสำคัญทางสถิติ การค้นพบที่สำคัญจะถูกกล่าวถึงและนำเสนอความหมายของพวกเขาด้วย


Reference :
Moonsarn, Boonchuay; Phoncharoen, Chotniphitphon; Jedaman, Pornchai and Kenaphoom, Sanya (2022) Regional Educational Reform in Thailand: Needs Assessment and Personnel Management 4.0 for the 21st Century. Online Submission, International Journal of Sociologies and Anthropologies Science Reviews (IJSASR), v2 n1 (2022); p31-42.

สภาพการบริหารวิชาการโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนรู้โดยครูไทย (EIS) โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา


บทคัดย่อ

  การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสภาพการบริหารวิชาการโรงเรียนต้นแบบที่จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนรู้โดยครูไทย (EIS) โดยการศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์เกี่ยวกับสภาพการดำเนินการ ปัญหา และอุปสรรคการบริหารวิชาการ โดยใช้เครื่องมือ คือ แบบแนวทางการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง อภิปรายผลเชิงพรรณนา ประชากรที่ศึกษาคือผู้บริหาร ครูที่จัดการเรียนการสอนแบบ EIS โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16

  จากผลการศึกษา พบว่า 1. สภาพการบริหารวิชาการโรงเรียนต้นแบบ จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ตามปกติ โดยจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์โดยครูไทย เน้นการใช้ภาษาอังกฤษพูดสื่อสารที่ครูพูดได้ นักเรียนฟังเข้าใจ โดยใช้ Classroom English และ ประโยคคำถามสั้นๆ ในห้องเรียนและสถานศึกษา 2. สภาพการดำเนินการในการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาครู ภายหลังจากได้รับนโยบายจากผู้อำนวยการ มีครูให้ความสนใจจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษและนำมาประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอนกับผู้เรียนตามปกติ ครูผ่านการฝึกอบรมด้วยหลักสูตรการฝึกอบรมและพัฒนาครูรูปแบบEIS มีการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนการสอน ใช้ตำราเป็นภาษาอังกฤษ การนิเทศติดตามด้วยรูปแบบการสอนแนะ (Coaching) และพี่เลี้ยง (Mentoring) ส่งเสริมสนับสนุนครูใช้สื่อเทคโนโลยี เสริมการจัดการเรียนการสอน

รายการอ้างอิง
สาโรจน์ จาปาศักดิ์ และปองสิน วิเศษศิริ (2557) สภาพการบริหารวิชาการโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนรู้โดยครูไทย (EIS) โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา. ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 (2014): กรกฎาคม - กันยายน; หน้า 351-360.

วันเสาร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2


 บทคัดย่อ

  การวิจัยครั้งนี้จะจัดขึ้นเพื่อศึกษา 1) มอบโอกาสให้กับโรงเรียนเป็นฐาน 2) ริสแบนด์ริสแบนด์ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงานที่ได้รับเป็นฐานกับริสแบนด์ และ 4) มอบให้โรงเรียนเป็นฐาน คุณจะต้องรับผิดชอบต่อค่าใช้จ่ายของหน่วยงานในสังกัดองค์กรที่ได้รับการศึกษา โปรดจำไว้ว่าขอบเขต 2 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือครูต้องจ่ายเงินจำนวน 306 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางเครจซีและมอร์แกนเครื่องมือ ภาพรวมของการวิจัยประกอบด้วย ขอความช่วยเหลือจากสถิติต่างๆ วิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยค่าที่คุณให้ค่าแก่ผู้อื่น คุ้มค่าตามมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน 1) อาจารย์มีความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้โดยแจ้งให้โรงเรียนทราบโดยเป็นฐานโดยรวมและรายด้าน ต้องขอยกตัวอย่างมากจากที่พบน้อยมากคือ สาระสำคัญของฐานข้อมูลผู้มีอำนาจรวบรวมความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ด้านข้างและด้านดุลอำนาจด้านการบริหารตนเองและด้านต่างๆ 2) ครูมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่มาสเคราะๆ โดยรวมและรายด้าน มีข้อสังเกตหลายประการที่เป็นประโยชน์จากมากที่หาได้น้อย คือ ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นด้านภาวะผู้นำด้านทรัพยากรทางการบริหารและด้านหลักสูตร 3) นำมารวมกันเป็นฐานกับดุลยภาพของดุลย์อย่าลืมกันทางบวกในระดับมากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) โรงเรียนที่นำมาใช้เป็นฐาน ความรับผิดชอบที่แบกรับไว้คือความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรด้านสิ่งแวดล้อมกระจายอำนาจด้านการจัดการ
ซึ่งสามารถรวบรวมได้ คัพเค้กจะได้รับแล้วจะได้รับ 75.40 สำคัญทางสถิติที่ระดับตนเอง .05050505 4) อนุญาตให้โรงเรียนใช้เป็นฐานข้อมูลที่ริสแบนด์มองข้ามด้านความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ด้านที่ตรวจสอบได้และคำนึงถึงด้านการกระจายอำนาจด้านการบริหารที่ตนเองจะเรียกรวมกันนั้นจะได้รับคำตอบนั้นจะได้รับ 75.40 อย่างเช่น มีนัยสำคัญทางสถิติที่สำคัญ .0505 4) อนุญาตให้โรงเรียนใช้เป็นฐานข้อมูลที่ริสแบนด์มองข้ามด้านความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ด้านที่ตรวจสอบได้และคำนึงถึงด้านการกระจายอำนาจด้านการบริหารที่ตนเองจะเรียกรวมกันนั้นจะได้รับคำตอบนั้นจะได้รับ 75.40 อย่างเช่น มีนัยสำคัญทางสถิติที่สำคัญ .05

รายการอ้าง
เจนจิรา บุญตามทัน (2565) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (2022): กรกฎาคม - ธันวาคม; หน้า 278-287.

รูปแบบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ 21 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2

 

บทคัดย่อ

  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ 21 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 โดยเทคนิคการวิจัย EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 17 คน ประกอบด้วยผู้อำนวยการโรงเรียน อาจารย์ศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยและพัฒนานโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล 3 รอบโดยใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์

ผลการวิจัยพบ
 ว่ารูปแบบการบริหารสถานศึกษาพื้นฐานในศตวรรษที่ 21 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ
     1. รูปแบบการบริหารงานวิชาการ ประกอบด้วย หลักสูตรสถานศึกษาควรมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะที่สำคัญที่สอดคล้องทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 อีกทั้งส่งเสริมผู้สอนด้านการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ โดยมีเทคนิค/กิจกรรมในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้ ของผู้เรียน ทั้งนี้มีระบบการนิเทศงานวิชาการเอื้อต่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21
  2. รูปแบบการบริหารงานงบประมาณ ประกอบด้วย สถานศึกษาควรมีการจัดทำแผนงานและโครงการให้มีความสอดคล้องกับตัวชี้วัดและงบประมาณที่ได้รับและส่งเสริมต่อการจัดการศึกษา ประกอบกับการนำเทคโนโลยีและสารสนเทศมาใช้ ตรวจสอบ กำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการใช้เงินและผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เอื้อต่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เน้นความโปร่งใสและตรวจสอบได้
     3. รูปแบบการบริหารการบริหารงานบุคคล ประกอบด้วย การจัดโครงสร้างบริหารงานบุคลากรของสถานศึกษาเป็นฝ่าย/งาน/กลุ่มสาระการเรียนรู้/กลุ่มพัฒนาผู้เรียนมีการวางแผน บริหารและจัดการงานด้านบุคคลากรในการมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบตามความถนัด สนใจ และประสิทธิภาพของบุคคลากรในการปฏิบัติงาน มีการพัฒนาศักยภาพงานของบุคลากรให้สอดคล้องกับแผนการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21
    4. รูปแบบการบริหารการบริหารงานทั่วไป ประกอบด้วย การปฏิบัติงานตามแผนและมีการกำกับติดตามให้การปฏิบัติบรรลุตามตัวชี้วัดและเป้าหมายการจัดระบบบริหารสถานศึกษาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงและทันสมัยอีกทั้งเน้นให้เกิดความสร้างางสรรค์นวัตกรรมใหม่ให้มีคุณภาพที่ตอบสนองต่อสถานศึกษามีการจัดทำระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมทั้งการจัดอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการจัดการเรียนและเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

รายการอ้างอิง
สุทธิศักดิ์ นันทวิทย์ และสจีวรรณ ทรรพวสุ (2558) รูปแบบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ 21 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2. วารสารการบริหารการศึกษา. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (2015): กรกฎาคม - ธันวาคม; หน้า 214-226.

สรุปนวัตกรรมด้านบริหารการศึกษา (E - Office สำนักงานอิเล็กทรอนิกส์)

  E - Office สำนักงานอิเล็กทรอนิกส์        E-Office หรือสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ ในบางครั้งก็ใช้คำว่า Office Automation หรือสำนักงานอัตโนมัติ...